บริบทมหาวิทยาลัย



บริบทมหาวิทยาลัย

วิสัยทัศน์

     มหาวิทยาลัยเอตทัคคะที่มีอัตลักษณ์ (Niche Guru University)

วัฒนธรรม

     ความดีงามและการปฏิบัติตนในจริยวัตรแบบไทย และความเคารพ

ผู้อ าวุโส (Virtues and Thai Etiquette Practices and Seniority

Recognition)

อัตลักษณ์

      เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด

มีจิตสาธารณะ

เอกลักษณ์

     เน้นความเป็นวัง ปลูกฝังองค์ความรู้ ยึดมั่นคุณธรรมให้เชิดชู

เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สู่สากล

ค่านิยม

    มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จะยึดมั่นในค่านิยมหลักสี่ประการ
ในการนำพามหาวิทยาลัยสู่ความสำเร็จในอนาคต ดังนี้
     ๑. W (Wisdom & Creativity): ปัญญาและความคิดสร้างสรรค์
     ๒. H (Happiness & Loyalty): ความผาสุกและความภักดีในองค์กร
     ๓. I (Integration & Collaboration): บูรณาการ และความร่วมมือ
     ๔. P (Professionalism) : ความเป็นมืออาชีพ

พันธกิจ

     ๑. ให้การศึกษา (To Offer Education) ผลิตบัณฑิตที่เน้นองค์ความรู้
เป็นเอตทัคคะ ฝึกหัดครู ปลูกฝังประชาชนให้สามารถเรียนรู้ใน
ระดับสูง มีความเป็นมนุษย์ที่รับผิดชอบต่ออนาคตของโลกที่มี
แนวโน้มเป็นนานาชาติ มีจิตวิญญาณในการท้าทาย โดยไม่กลัว
ล้มเหลว
     ๒. วิจัย (To Conduct Research) มุ่งมั่น ใน การลงทุน ท างการ
ศึกษาวิจัยในศาสตร์ที่เป็นเอตทัคคะ ที่สามารถนำไปใช้ให้เกิดผล
ประโยชน์ได้เพื่อความสงบสุข และความเจริญรุ่งเรือง ผ่านการ
แสวงหาด้วยการวิจัยทางวิชาการที่อุดมไปด้วยความคิดสร้างสรรค์
     ๓. บริการวิชาการ (To Provide Academic Services) การส่งมอบ
ผลงานวิชาการในระดับเอตทัคคะ ที่ตอบและแก้ปัญหาของสังคม
โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น และสังคม
     ๔. ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (To Conserve Arts and Culture)
การส่งเสริมและสนับสนุนศิลปะ และวัฒนธรรมไทย โดยการพัฒนา
และสร้างแม่แบบวัฒนธรรมวังสวนสุนันทาให้เป็นที่ยกย่องและชื่น
ชมของมนุษยชาติ

เสาหลัก

     ๑. ทุนความรู้ (Knowledge Capital)
     ๒. คุณธรรม (Morality)
     ๓. เครือข่าย (Partnership)
     ๔. ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)
     ๕. วัฒนธรรม (Culture) ที่ว่า “ความเป็นแบบอย่างที่ดีตามวิถี
ของรัตนโกสินทร์”

ประเด็นยุทธศาสตร์
     ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะและผลิต
บัณฑิตให้เป็นมืออาชีพ (Develop and enhance SSRU to become
niche-guru university and produce professional graduates)
     ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างงานวิจัยและนวัตกรรมระดับชาติและ
นานาชาติเพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน (Create
research works and innovation at national and international
levels for better and sustainable quality of life, economy and
society)
     ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความสัมพันธ์กับเครือข่ายและขยายการ
ยกย่องระดับนานาชาติ (Construct the network cooperation and
elevate the recognition to the international level)
เป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัย
     เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน เราก็ต้องปรับเปลี่ยน เพื่อให้เกิดความสามารถใน
การแข่งขันและทันต่อโลกอนาคต แต่สำหรับสิ่งที่ดีและมีคุณค่า เราต้องธำรง
รักษา มหาวิทยาลัยจึงได้กำหนดรูปแบบของการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา คือ SSRU “KEEP” Model เพื่อมุ่งเติมเต็มในสิ่งที่ยัง
เดินไปไม่ถึงจุดหมายปลายทางและเป้าหมายที่ตั้งไว้ ต่อยอดทุนความรู้และ
ทุนสังคมที่มีอยู่ ติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อกำกับติดตามระบบการทำงาน
เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่ความเป็น “ต้นแบบ” ตามวิสัยทัศน์
15 ปี เพราะนี่คือสิ่งที่ทรงคุณค่าที่จะต้องดูแลรักษาเอาไว้ สามารถแสดงได้
ดังภาพ

     จากรูปแบบของการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ด้วย SSRU “KEEP” Model มหาวิทยาลัยได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนา
SSRU “SWITCH” ในการไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ รายละเอียดดังนี้
     S : Sustainability University which Grow Along with Society.
มหาวิทยาลัยแห่งความยั่งยืนที่พร้อมจะเติบโตกับสังคมยุคใหม่
W : Aiming to be the World-Class University.มุ่ ง สู่ ก า ร เ ป็ น
มหาวิทยาลัยระดับโลก
     I : University which Hold up to Administration and Academic
Integrity Principle.มหาวิทยาลัยที่ยึดมั่นในความซื่อสัตย์ในเชิงการ
บริหารงานและวิชาการ
     T : Technology Driven University in Both Administration and
Academic Aspect.มหาวิทยาลัยที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
     C : Capacity and Capability.การทำ งาน อ ย่างเต็ม กำ ลังและเต็ม
ความสามารถตามความถนัดของแต่ละบุคคล
     H : Happy Workplace University which has Scholarly
Organization Atmosphere.มหาวิทยาลัยแห่งความผาสุกที่ล้อมรอบด้วย
บรรยากาศของนักวิชาการ
ทั้งนี้ สามารถแสดงเป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัย SSRU “SWITCH” ดัง
ภาพ